ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ไม่รู้, - ไม่รู้- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ หลำ | [หล๋ำ] (vt) มั่ว, ไม่รู้จริงแต่พูดเหมือนรู้จริง, แสดงอาการเคลื่อนไปข้างหน้าหลวมตัวไปเรื่อย ๆ มีที่มาจากคำว่าถลำ โดยภาษาไทยจะอ่านว่า ถะหฺลํา แต่ภาคใต้เน้นเสียงพูดแบบเร็วๆ จึงควบคำเป็น หลำ และเอามาใช้ในความหมายในเชิงตำหนิ เมื่อมีใครพูดหรือแสดงอาการกระทำบางอย่างที่ไม่รู้จริงแต่ทำเหมือนรู้จริง ก็จะตำหนิว่า หลำ, See also: S. มั่วนิ่ม, เนียน, R. ถลำ, หลำพ่ก, หลำอิตาย, หลำเมร่อ |
|
| กระเชอก้นรั่ว | ว. สุรุ่ยสุร่าย, ไม่รู้จักเก็บหอมรอมริบ, ขาดการประหยัด, เพี้ยนไปเป็น กระชังก้นรั่ว ก็มี. | ก้อย ๑ | โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้จักเด็กไม่รู้จักผู้ใหญ่ หรือ ไม่รู้จักตํ่าสูง ในความว่า ไม่รู้จักนิ้วก้อยหัวแม่มือ. | กำเลา | ว. โง่, อ่อน, ไม่รู้เท่าทัน, ไม่มีไหวพริบ, เช่น ดุจตักแตนเต้นเห็นไฟ บมิใฝ่หนีไกล กำเลากำเลาะหวังเขญ (อนิรุทธ์). | แข็ง | ไม่ยอมง่าย ๆ, ไม่รู้สึกสงสาร, เช่น ใจแข็ง | คุณ ๑, คุณ- | (คุน, คุนนะ-) น. ความดีที่มีประจำอยู่ในสิ่งนั้น ๆ เช่น คุณของแผ่นดิน, ความดีที่มีต่อสิ่งต่าง ๆ เช่น ไม่รู้คุณข้าวแดงแกงร้อน | งู ๆ ปลา ๆ | ว. มีความรู้เล็ก ๆ น้อย ๆ, ไม่รู้จริง, ในคำว่า รู้งู ๆ ปลา ๆ. | โง่ | ว. เขลา, ไม่ฉลาด, ไม่รู้. | จระกล้าย | (จะระ-) ก. วางเฉย, อยู่เฉย, ไม่รู้สึกยินดียินร้าย, โบราณเขียนเป็น จรกล้าย ก็มี เช่น เออาศนไอสูรยเสีย จรกล้าย (ยวนพ่าย), แล้วก็น่งงเยียม่งง ช่งงอยู่จรกล้าย ว่าเถ้าร้ายฤๅจะรู้กล (ม. คำหลวง กุมาร). | จู่ ๆ | ก. ไม่รู้ตัวมาก่อน, โดยกะทันหัน, เช่น จู่ ๆ ฝนก็ตกลงมา. | ใจแข็ง | ว. ไม่ยอมง่าย ๆ, ไม่รู้สึกสงสาร, อดกลั้นความเจ็บปวดหรือทุกข์โศกไว้ได้. | ซมซาน | ว. งมงาย, ไม่รู้อะไร, เช่น โง่ซมซาน, ซานซม ก็ว่า. | ซานซม | ว. งมงาย, ไม่รู้อะไร, เช่น โง่ซานซม, ซมซาน ก็ว่า. | ดอก ๓ | ว. คำประกอบใช้ในความแย้งหรือปฏิเสธ เช่น ได้แต่มัทรีที่แสนดื้อผู้เดียวดอก ไม่รู้จักปลิ้นปลอกพลิกไพล่เอาตัวหนี (ม.ร่ายยาว มัทรี), (ปาก) มักพูดว่า หรอก เช่น ไม่ไปหรอก. | ด้าน ๒ | โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้สึกเจ็บ, ไม่รู้สึกอาย, เช่น หน้าด้าน. | ตกข่าว | ก. ไม่รู้ข่าวที่คนอื่น ๆ รู้. | ต่อนัดต่อแนง ๑, ต่อนัดต่อแนม ๑ | ก. เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่รู้จักจบ. | ตะบี้ตะบัน | ว. ซํ้า ๆ ซาก ๆ, ไม่รู้จักจบจักสิ้น, เช่น เถียงตะบี้ตะบัน. | ตาไม่มีแวว | ว. ไม่รู้จักของดี เช่น เขาเป็นคนตาไม่มีแวว มีของดีมาให้เลือกแต่กลับไปเลือกของเลว. | เถรตรง | ว. ซื่อหรือตรงจนเกินไป, ไม่มีไหวพริบ, ไม่รู้จักผ่อนผันสั้นยาว, ไม่รู้จักผ่อนหนักผ่อนเบา. | ทะลึ่ง | แสดงกิริยาหรือวาจาไม่สมควร ไม่รู้จักที่ตํ่าสูง เช่น อย่าทะลึ่งกับผู้ใหญ่ | นอนหลับไม่รู้ นอนคู้ไม่เห็น | ก. ไม่รู้เรื่องราวที่เกิดขึ้น, ไม่รู้อีโหน่อีเหน่. | นิรคุณ | เนรคุณ, ไม่รู้คุณ. | นิรนาม | (-ระนาม) ว. ไม่รู้ว่าชื่ออะไร. | ประสีประสา | น. วิสัย, เรื่องราว, ความเป็นไป, ความหมาย, (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น ไม่รู้ประสีประสา. | เป็นวรรคเป็นเวร, เป็นวักเป็นเวน | ว. ไม่รู้จักจบจักสิ้น เช่น ร้องไห้เป็นวรรคเป็นเวร. | แผลริมแข็ง | น. แผลที่อวัยวะสืบพันธุ์เนื่องจากเชื้อกามโรคซิฟิลิส จะเกิดเป็นตุ่มขึ้นก่อนแล้วแตกเป็นแผล ลักษณะก้นแผลเรียบ ขอบนูนแข็ง แผลมักสะอาด ไม่รู้สึกเจ็บ. | พระอิฐพระปูน | ว. นิ่งเฉย, วางเฉย ไม่เดือดร้อน, ไม่รู้สึกยินดียินร้าย. | พล่าม | (พฺล่าม) ว. เพ้อเจ้อ, อาการที่พูดมากจนเสียประโยชน์, อาการที่พูดซ้ำ ๆ ซาก ๆ ไม่รู้จักจบจนน่ารำคาญ. | พะอืดพะอม | โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้จะตัดสินใจอย่างไรดี, ไม่กล้าที่จะตัดสินใจเด็ดขาดลงไป, กลืนไม่เข้าคายไม่ออก ก็ว่า. | มีหน้า | ว. ไม่รู้สึกอาย (ใช้ในความแดกดัน รังเกียจ หรือดูหมิ่น), มักใช้กับคำ ยัง เช่น โกรธกันแล้วยังมีหน้ามาพูด เก่าไม่ใช้ ยังมีหน้ามายืมใหม่อีก. | มุคธ์ | (มุก) ว. เขลา, ไม่รู้เดียงสา. | ไม่ดูเงาหัว | ก. ไม่รู้จักประมาณตน. | ไม่เดียงสา | ว. ไม่รู้ประสา, ไม่รู้ผิดรู้ชอบตามปรกติสามัญ, เช่น เด็กยังไม่เดียงสา. | ไม่รู้จักหัวนอนปลายตีน | ก. ไม่รู้ความเป็นมาหรือพื้นเพ. | ไม่รู้อีโหน่อีเหน่ | ก. ไม่รู้เรื่องราวที่เกิดขึ้น, นอนหลับไม่รู้ นอนคู้ไม่เห็น. | ไม่หวาดไม่ไหว | ว. ไม่รู้จักหมด เช่น กินไม่หวาดไม่ไหว. | ยิบ ๒ | ก. ยักเอาไว้, ริบไว้, เช่น ไม่รู้ว่าใครเอาของมาลืมทิ้งไว้ เลยยิบเอาไปเสียเลย. | รู้หนเหนือหนใต้ | ก. รู้ทิศทาง, รู้จักหนทาง, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เดี๋ยวนี้บ้านเมืองเปลี่ยนแปลงไปมากแล้วไม่รู้หนเหนือหนใต้, โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้เรื่อง เช่น ทำงานใหม่ ๆ ไม่รู้หนเหนือหนใต้, รู้เหนือรู้ใต้ ก็ว่า. | รู้เหนือรู้ใต้ | ก. รู้ทิศทาง, รู้จักหนทาง, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เดี๋ยวนี้บ้านเมืองเปลี่ยนแปลงมาก ไปแล้วไม่รู้เหนือรู้ใต้, โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้เรื่อง เช่น ทำงานใหม่ ๆ ไม่รู้เหนือรู้ใต้, รู้หนเหนือหนใต้ ก็ว่า. | ลับลมคมใน | ว. มีเงื่อนงำบางอย่างแฝงอยู่ ไม่รู้ว่าความจริงเป็นอย่างไร เช่น เขาเป็นคนลับลมคมใน คบยาก เรื่องนี้มีลับลมคมในต้องสืบสวนต่อไป. | ...แล้ว...เล่า, แล้ว ๆ เล่า ๆ | ว. ทำแล้วทำอีกอยู่นั่นเอง เช่น พูดแล้วพูดเล่า กินแล้วกินเล่า ทำแล้ว ๆ เล่า ๆ ไม่รู้จักเสร็จ. | ว่าง ๆ | ว. ไม่มีอะไรจะทำ, ไม่มีภาระ, เช่น อยู่ว่าง ๆ ไม่รู้จะทำอะไร. | เวรกรรม | คำแสดงความรู้สึกเดือดร้อนเพราะกรรมหรือชะตากรรมของตนในอดีต เช่น ไม่รู้ว่าเวรกรรมอะไรต้องมาตกระกำลำบากเมื่อแก่, กรรมเวร หรือ เวร ก็ว่า. | สนิทปาก, สนิทปากสนิทคอ | ว. ไม่รู้สึกกระดากใจหรือตะขิดตะขวงใจ เช่น พูดเท็จได้สนิทปาก พูดคำหยาบโลนได้สนิทปากสนิทคอ. | สมบัติบ้า | ข้าวของที่เก็บไว้แต่ไม่มีประโยชน์ เช่น สมบัติบ้าเต็มตู้ไปหมด ไม่รู้จักทิ้งเสียบ้าง. | สัตถันดร, สัตถันดรกัป | (สัดถันดอน, สัดถันดะระกับ) น. ระยะเวลาที่คนเสื่อมจากศีลธรรมอย่างที่สุด มีการรบราฆ่าฟันกัน ไม่รู้จักญาติพี่น้อง เกิดขึ้นเมื่อมนุษย์มีโทสะหนา เช่น ห้าขวบมีฆราวาส ใจร้ายกาจโกลี กัลปนั้นมีนามกร ชื่อสัตถันดรพึงมี (มาลัยคำหลวง). (ป. สตฺถ ว่า อาวุธ + อนฺตร). (ดู อันตรกัป ประกอบ). | สาธยาย | (สาทะยาย, สาดทะยาย) น. การท่อง, การสวด, การทบทวน, เช่น สาธยายมนต์, (ปาก) การชี้แจงแสดงเรื่อง เช่น สาธยายอยู่นั่นแหละ ไม่รู้จักจบเสียที. | สาระวอน | ก. พูดออดอ้อน เช่น สาระวอนอยู่นั่นแล้ว ไม่รู้จักเลิก. | สิ้นแต้ม | ก. หมดตาเดิน, ไม่มีตาเดิน, (มักใช้แก่การเล่นสกา), โดยปริยายหมายความว่า หมดหนทางคิดอ่าน เช่น พอมีปัญหาประดังกันเข้ามามาก ๆ เขาก็สิ้นแต้ม ไม่รู้จะหันหน้าไปพึ่งใคร. | เสียเปล่า | ว. เสียแรงที่ (เป็นสำนวนใช้ในเชิงตำหนิ) เช่น เป็นลูกผู้หญิงเสียเปล่า ไม่รู้จักการบ้านการเรือน มีสมองเสียเปล่า แต่ไม่รู้จักคิด. |
| protopathic | ๑. ขั้นต้น, ปฐมภูมิ๒. ไม่รู้สาเหตุ [ มีความหมายเหมือนกับ idiopathetic; idiopathic ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | analgesic | ๑. ยาระงับปวด๒. ไม่รู้เจ็บ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | idiopathetic; idiopathic | ๑. -เกิดขึ้นเอง๒. ไม่รู้สาเหตุ [ มีความหมายเหมือนกับ protopathic ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | idiopathic; idiopathetic | ๑. -เกิดขึ้นเอง๒. ไม่รู้สาเหตุ [ มีความหมายเหมือนกับ protopathic ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | illiterate | ผู้ไม่รู้หนังสือ, ไม่รู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | unconscious | ๑. ไม่รู้สึกตัว๒. จิตไร้สำนึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Cerebrovascular syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Central nervous system syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Allocheiria | แยกขวา-ซ้ายไม่ได้, ไม่รู้ขวา-ซ้าย [การแพทย์] |
| unrepentant | (adj) ไม่รู้สึกว่าได้กระทำอะไรผิดไป, ไม่รู้สึกผิด |
| black out | (phrv) เป็นลม, See also: สลบ, ไม่รู้สึกตัว, Syn. blacken out, pass out | blacken out | (phrv) เป็นลม, See also: สลบ, ไม่รู้สึกตัว, Syn. black out | comatose | (adj) ที่อยู่ในสภาพไม่รู้สึกตัว, See also: ไร้การตอบสนอง, สลบ, ไม่รู้สึกตัว, Syn. insensible, unconscious, semiconscious, asleep, numb, unwitting | eternal | (adj) ที่อยู่ชั่วนิรันดร์, See also: ชั่วนิรันดร์, กัลปาวสาน, ไม่สิ้นสุด, ไม่รู้จักตาย, Syn. endless, everlasting, never-ending | muddle up | (phrv) สับสน, See also: ฟุ้งซ่าน, ไม่รู้เรื่อง, Syn. jumble up, mix up | unceasingly | (adv) ซึ่งต่อเนื่อง, See also: อย่างไม่หยุดหย่อน, ไม่รู้จบ, ไม่ขาดสาย, Syn. continuously, Ant. discontinuously, noncontinuously | unknowing | (adj) โง่, See also: เขลา, ไม่รู้, อวิชชา, Ant. knowing |
| dark | (ดาร์ค) adj. มืด, มืดมน, มัว, ดำคล้ำ, ซ่อนเร้น, เร้นลับคลุมเครือ, ชั่วช้า n. ความมืด, กลางคืน, ที่มืด, สีดำ -Phr. (in the dark ไม่รู้ เป็นความลับ) vi. มืด., See also: darkish adj. ดูdark darkishness n. ดูdark, Syn. dim | impassible | (อิมพาซ'ซะเบิล) adj. ไม่รู้สึกเจ็บปวด, ไม่รู้สึกทุกข์ร้อน, ไม่มีอารมณ์, ไม่สะดุ้งสะเทือน, เมินเฉย, เย็นชา., See also: impassibility n. impassibly adv. | imperceptible | (อิมเพอเซพ' ทะเบิล) adj. เล็กน้อย, นิดหน่อย, ไม่รู้สึก. -n. สิ่งที่ไม่สามารถรู้สึกได้, สิ่งที่ไม่สามารถมองเห็นได้., See also: imperceptibitity, imperceptibleness n. imperceptibly adv. | inapprehensive | (อินแอพพริเฮน' ซิฟว) adj. ขาดความเข้าใจ, ไม่รู้, ไม่ตระหนักถึง., See also: inapprehensiveness n. | incognizant | (อินคอก' นิเซนทฺ) adj. ไม่รู้ถึง, ไม่รู้ตัว, มิได้คาดไว้., See also: incognizance n. | indefatigable | (อินดิแฟท' ทะจะเบิล) adj. ไม่รู้จัดเหน็ดเหนื่อย, ไม่ย่อท้อ., See also: indefatigability, indefatigableness n. indefatigably adv., Syn. dilligent, tireless, assiduous, diligent, Ant. sluggish | inexhaustible | (อินอิกซอส'ทะเบิล) adj. ไม่รู้จักหมด, ไม่สิ้นสุด, ใช้ไม่หมด, ไม่รู้จักเหนื่อย., See also: inexhaustibility, inexhaustibleness n. inexhaustibly adv., Syn. boundless | infallible | (อินแฟล'ละเบิล) adj. ไม่รู้จักผิดพลาด, ไม่ทำผิดพลาด, แน่นอนที่สุด. n. บุคคลที่ไม่ทำผิดพลาด, บุคคลที่ถูกตลอด, สิ่งที่ถูกต้องตลอด., See also: infallibility, infallibleness n. infallibly adv., Syn. allwise, unerring | insensitive | (อินเซน'ซะทิฟว) adj. ไม่รู้สึก, ตายด้าน, ขาดความรู้สึกไวต่อ., See also: insensitivity n., Syn. unfeeling, dull | night | (ไนทฺ) n. กลางคืน, ความมืด, ความคลุมเครือ, โชค ไม่ดี, การไม่รู้, -Phr. (night and day ไม่หยุดหย่อน ไม่รู้จักเหนื่อย ไม่สิ้นสุด) | tireless | (ไท'เออะลิส) adj. ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย, ไม่เมื่อยล้า, ไม่เบื่อหน่าย., See also: tirelessly adv. tirelessness n., Syn. unflagging | unaware | (อันอะแวร์') adj. ไม่รู้ตัว, ไม่ได้คาด-คิดมาก่อน, ไม่รู้, ฉับพลัน, ไม่ได้เตือนมาก่อน., See also: unawarely adv. unawareness n. | undying | (อันได'อิง) adj. ไม่รู้จักตาย, ไม่รู้จบ, ไม่สิ้นสุด, อมตะ, ถาวร., See also: undyingly adv. | unfeeling | (อันฟีล'ลิง) adj. ไม่รู้สึก, ไม่มีความรู้สึก, โหดเหี้ยม, ไร้ความปรานี, ไร้ความเห็นอกเห็นใจ. | unfelt | (อัน'เฟสทฺ') adj. ไม่รู้สึก | unknown | (อันโนน') adj., n. (สิ่งที่) ไม่รู้, ไม่เข้าใจ, ไม่รู้จัก, ไม่ทราบ, แปลกหน้า, ไม่มีชื่อ, ลึกลับ., See also: unknownness n., Syn. uncharted, dark, hidden | unlearned | (อันเลิร์น'ทิด) adj. ไม่รู้, ไม่มีการศึกษา, ไม่ได้เรียนมา, ไม่สนใจ, ไม่คงแก่เรียน., See also: unlearnedly adv., Syn. uneducated | unwitting | (อันวิท'ทิง) adj. ไม่รู้, ไม่รู้ตัว, ไม่ตั้งใจ., See also: unwittingly adv. | weariless | (เวีย'ริลิส) adj. ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย, ไม่รำคาญ, ไม่น่าเบื่อ, ไม่เบื่อหน่าย, See also: wearilessly adv., Syn. tireless |
| amaranthine | (adj) ไม่รู้โรย, อมร, ไม่รู้จบ | ceaseless | (adj) ไม่รู้จักจบ, ไม่หยุดหย่อน, ไม่มีที่สิ้นสุด, ไม่เลิกรา | illiterate | (adj) ไม่รู้หนังสือ, ไม่มีการศึกษา | impenitent | (adj) ไม่รู้สึกผิด, ดื้อดึง, ดื้อรั้น, ไม่ยอมรับ | insatiable | (adj) ไม่รู้จักอิ่ม, ไม่รู้จักพอ, ไม่เพียงพอ | insatiate | (adj) ไม่รู้จักพอ, ไม่รู้จักอิ่ม | insensitive | (adj) ไม่รู้สึก, ตายด้าน | quack | (adj) ไม่รู้จริง, เก๊, กำมะลอ, โอ้อวด, หลอกลวง | soulless | (adj) ไม่รู้สึกผิดชอบ, ไม่มีวิญญาณ, ไม่ปรานี | tireless | (adj) ไม่รู้จักเหนื่อย, ไม่เบื่อ, ไม่เมื่อย, ไม่อ่อนล้า | unconscious | (adj) ไม่รู้สึก, สลบ, ไม่ได้สติ, ไม่ได้ตั้งใจ | untiring | (adj) ไม่รู้จักเหนื่อย, ไม่ย่อท้อ |
| ちんぷんかんぷん | [chinpunkanpun] (n) เรื่องที่ไม่เข้าใจ, ไม่รู้เรื่องรู้ราวอะไรเลยซักกะนิืด | 得体の知れない | [えたいのしれない, etainoshirenai] (adj) ยากจะอ่านออก, ยากจะมองออก, ยากจะเข้าใจ, ไม่รู้ลึกตื้นหนาบาง |
| verraten | (vi, vt) |verrät, verriet, hat verraten| เผยความลับ, บอกความจริง, ช่วยแนะ อธิบาย ตัวอย่างการใช้ คำ 1° Yujin, ich will dir verraten, dass Junsang dich sehr mag! = นี่ ยูจิน, เธอนะ ไม่รู้รู้เลยใช่มั้ย ว่าจุนซางเค้าชอบเธอมากเลยน้า (จาก winter love song แฮะๆ ) 2° Unser Geheimnis darfst du keinem verraten! = ความลับระหว่างเรานะ เธอ ห้ามไปบอก ใครเชียวนะ! ( กรรมตรง คือ unser Geheimnis, กรรมรอง คือ keinem, Dativ! ) 3° Können Sie mir bitte verraten, wie ich am schnellsten zum Bahnhof komme? = เอ่อ คุณครับ กรุณาเถอะครับ ช่วยบอกทางผมไปสถานีรถไฟให้ด่วนที่สุดจะได้มั้ยครับ? ( คำว่า bitte จะช่วยให้คุณไปถึงสถานีรถไฟได้เร็ว จริงๆน้า..), See also: die Sache aufklären, A. verheimlichen, still sein, Syn. das Geheimnis sagen | Ja | อืม (เป็นคำใช้เอื้อนเอ่ย หลังจากที่ทิ้งช่วงคิดไปสักพัก) เช่น Wann hast du deinen Schlüssel zum letzten Mal gesehen? - Ja, ich weiß nicht. เธอเห็นลูกกุญแจครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่ - อืม ไม่รู้แฮะ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |